Tag: Logistic
ถอดรหัส “ลาล่ามูฟ” 3 ปี 540 ล้าน โต 350% ผู้นำ Food Delivery...
หนึ่งธุรกิจที่บ่มเพาะมาจากสตาร์ทอัพ จนตอนนี้ครบ 3 ปีเต็ม พร้อมสเกลธุรกิจที่เติบโตเพิ่มขึ้น และแข็งแรงจนสามารถหยั่งรากในตลาด On Demand Delivery ได้อย่างมั่นคงแล้ว ปีที่ผ่านมาลาล่ามูฟ (Lalamove) มีรายได้จากการให้บริการ On Demand Delivery Provider รวมราวๆ 120 ล้านบาท ขณะที่ปีนี้เติบโตได้สูงถึง 350% ทำรายได้แตะ 540...
เมื่อสินค้ามาส่งตอนไม่อยู่บ้าน ก็ให้พนักงานเข้ามาซะเลยสิ วิธีการใหม่ของ Walmart
อุปสรรคใหญ่อย่างหนึ่งของการสั่งซื้อของออนไลน์ คือเมื่อของมาส่งที่บ้านในวันทำงานและไม่มีใครอยู่รับของ ซึ่งที่ผ่านมาก็มีการหาทางออก โดยให้ผู้ซื้อไปรับของ ณ ที่อื่น ในเวลาหลังเลิกงาน เช่น ช็อปพิเศษตามสถานีรถไฟฟ้า หรือร้านสะดวกซื้อ หรือรับของวันหยุด ณ สาขาไปรษณีย์ตามห้าง ฯลฯแต่ล่าสุด Walmart ในอเมริกากำลังทดลองทางออกใหม่ คือการอนุญาตให้พนักงานส่งของเข้าไปวางของในบ้านได้ แต่เป็นการเข้าได้แค่ครั้งเดียว และ “แป๊บเดียว” โดยจะถูกกล้องวงจรปิดในบ้านจับภาพไว้ตลอดตั้งแต่เข้ามา วางของ และออกไปที่ทำอย่างนี้ได้ ก็ด้วยการใช้ระบบ...
บทสรุปเสวนา e-Commerce Shapes Logistics ขนส่งไทยจะเดินไปทางใดในยุคอีคอมเมิร์ซ
จากตัวเลขของสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ.) หรือ ETDA** ซึ่งเปิดเผยเมื่อวันที่ 27 ก.ย. 60 ที่ระบุว่า “ภาพรวมของธุรกิจอีคอมเมิร์ซในประเทศไทยอยู่ที่ประมาณ 2.8 ล้านล้านบาท มูลค่า e-retail ในไทย 1% เฉลี่ยทั่วโลก 8.6% ส่งผลให้มีเม็ดเงินมหาศาลที่จะช่วยขับเคลื่อนธุรกิจของประเทศ ธุรกิจที่ได้รับอานิสงห์ของการเติบโตของอีคอมเมิร์ซ โดยตรงก็คือ “การขนส่ง” ซึ่งต้องปรับตัวอย่างหนัก ให้สอดรับกับการขยายตัวที่เกิดขึ้น**อ้างอิงข้อมูลตัวเลขของสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ.) หรือ ETDAภายในงาน Digital Thailand...
Co-founder Lalamove แบ่งปันประสบการณ์ Startup ที่ขยายตลาดสู่ 100 เมืองภายใน 4 ปี
Lalamove ก่อตั้งในฮ่องกงในปี 2013 ในชื่อว่า EasyVan และเริ่มเทคโนโลยีในการขนส่งภายในเมืองในปี 2017 ใน 40 เมือง แต่ตอนนี้มีกว่า 100 เมืองแล้ว และได้รับเงินทุนต่อยอดระดับซีรี่ส์ B ไปกว่า 30 ล้านเหรียญสหรัฐ นี่คือเรื่องราวของสตาร์ทอัพรายนี้จากปากของ co-founder Gary Hui ที่จะมาเล่าถึงวิธีการที่ Lalamove พาตัวเองเข้าไปในตลาดจีนและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตอนนี้มีเรื่องใหม่ๆ...
ทำความรู้จัก Greek+ บริษัทผลิตหุ่นยนต์ยกของในโรงงาน เบื้องหลังในโกดังของ Alibaba
การใช้หุ่นยนต์เข้ามาแทนในกลไกต่างๆ ของการทำงานแทนคนเป็นที่แพร่หลายอย่างมากในทั่วโลก โดยเฉพาะจีนเองที่ติดอันดับหนึ่งของการจัดซื้อหุ่นยนต์เพื่อใช้ในโรงงานมากเป็นอันดับหนึ่งของโลกตั้งแต่ปี 2013 และปีที่แล้วก็แซงหน้าญี่ปุ่นไปเป็นที่เรียบร้อยในแง่ของประเทศที่ใช้หุ่นยนต์เพื่อการทำงานมากที่สุด และมีแนวโน้มจะพุ่งสูงขึ้นอย่างหยุดไม่อยู่โดยตอนนี้ไม่เพียงแค่โรงงานผลิตสินค้าเทคโนโลยีเท่านั้น (อย่าง Foxconn ที่ผลิต iPhone) แม้แต่บริษัทออนไลน์ช้อปปิ้งก็มีอุปสงค์ในการนำมาหุ่นยนต์เข้ามาใช้ในธุรกิจด้วยเช่นกัน โดย Alibaba ใช้มันไปเพื่อการขนส่งสินค้าภายในโกดังที่ทำงานร่วมกับบริษัทขนส่งมากมายในจีน โดยผลงานของบริษัทพัฒนาหุ่นยนต์ที่สร้างหุ่นยนต์ขนาดกำลังดี ที่สามารถยกสินค้าและเคลื่อนที่ไปยังที่ต่างๆ ในโกดังได้ด้วยตัวมันเอง ผ่านสตาร์ทอัพท้องถิ่นที่ชื่อว่า Geek+
Greek+ เริ่มมากจากทีมเล็กๆ ที่รวมตัวกันในปี 2015 ที่ตอนนี้ได้เงินทุนกว่า 22...